ต้นมะนาวใบเหลือง แก้ไขอย่างไร | มะนาวใบเหลือง

Table of Contents

ต้นมะนาวใบเหลือง แก้ไขอย่างไร

 

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ต้นมะนาวที่มีปัญหารากเน่า หรือเชื้อราที่ราก เารต้องแก้ไข โดยการตัดกิ่งต้นมะนาว ออกให้เกือบจะหมดต้น หรือเหมือนกับการทำสาวให้ต้นมะนาว จากนั้นก็พรวนดินให้ล้อมรอบใต้ต้นมะนาว เพื่อที่เราจะได้ใส่ปุ๋ยที่เราหมักไว้ แล้วคลุกให้เข้ากับดิน จากนั้นเราก็ เอาผง ไตโครเดอร์ม่า ผสมกับน้ำ และราดลงที่ดินใต้ต้นมะนาวครับ

ต้นมะนาวใบเหลือง แก้ไขอย่างไร

สุดง่าย กับการแก้ใบหงิกในมะนาว ทำให้ใบเขียว สวย และออกผลดก โดยไม่ใช้สารเคมี

 

สุดง่าย กับการแก้ใบหงิกในมะนาว ทำให้ใบเขียว สวย และออกผลดก โดยไม่ใช้สารเคมี

กำจัดเพลี้ยแป้งให้อยู่หมัด ตัดวงจรเพลี้ยด้วยสูตรนี้เลย

 

วันนี้ดาวมาบอกวิธีกำจัดเพลี้ยแป้งด้วยพริกแกงกับกำจัดมดตัวเลี้ยงเพลี้ย สูตรนี้ถ้าเพลี้ยระบาดก็ฉีดทุกวันเลยจ้า 😊

กำจัดเพลี้ยแป้งให้อยู่หมัด ตัดวงจรเพลี้ยด้วยสูตรนี้เลย

อย่าทิ้งนะ!! แก้วเดียวผักงามยกสวนไปเลย #แก้พืชใบเหลือง หงิกงอสุดง่ายๆ แบบทวีคูณ 2 แบบแม่ก้อยพาทำ

 

สวัสดีค่ะเพื่อนเกษตรที่น่ารักทุกคนวันนี้แม่ก้อยขอพาเพื่อน มาทำ
ต้มผัดน้ำต้มไข่ต่อไปนี้. อย่าทิ้งมาทำเป็นปุ๋ยบำรุงพืชผักแบบ ง่ายๆเร่งดอกเร่งผล แก้อาการพืชผัก ใบเหลืองใบจุดใบด่าง ต้นเร็วเร่งติดดอกออกผลด้วยสูตรง่ายง่ายราคาประหยัดใช้แล้วเห็นผลจริงปลูกพืชผักเยอะลองใช้สูตรนี้เลย
วัสดุ/อุปกรณ์
1. เครื่องดื่มชูกำลัง
2.ผงชูรส 1 ช้อนโต๊ะ
3.เกลือ
4.เครื่องดื่มชูกำลัง
ถ้ามีประโยชน์อย่าลืมกดติดตามแม่ก้อยพาทำช่อง
แม่ก้อยขอขอบคุณเพื่อนเกษตรที่น่ารักทุกคนที่กดติดตาม กดไลด์ กดแชร์ให้แม่ก้อยเสมอมา ด้วย รักจากใจ

อย่าทิ้งนะ!! แก้วเดียวผักงามยกสวนไปเลย #แก้พืชใบเหลือง หงิกงอสุดง่ายๆ แบบทวีคูณ 2 แบบแม่ก้อยพาทำ

#วิธีรักษามะนาวใบเหลือง#มะนาวใบเหลืองหายใด้#ปูนแดงผสมน้ำแก้ใบเหลืองใด้ผลจริงๆ

 

23 สัปดาห์ใบจะกลับมาเขียวเลยครับ

#วิธีรักษามะนาวใบเหลือง#มะนาวใบเหลืองหายใด้#ปูนแดงผสมน้ำแก้ใบเหลืองใด้ผลจริงๆ

แต่หากพบว่า มะนาวใบเหลืองนั้น เกิดจากเชื้อรา โรคแคงเกอร์ โรคราคเน่าโคนเน่า ต้องป้องกันและรักษาด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา อัตราส่วนผสมของตัวยา 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วบริเวณไร่

มะนาวใบเหลือง เป็นเพราะโรครากเน่าโคนเน่า โรคแคงเกอร์ การป้องกันและแก้ไข โรคมะนาวใบเหลือง

โรคแคงเกอร์ คือ โรครากเน่าโคนเน่า ที่เกิดกับมะนาว สังเกตุเห็นได้ง่าย คือ มะนาวใบเหลือง สาเหตุของโรคแคงเกอร์ หรือ โรครากเน่าโคนเน่า ส่วนมาแล้ว เกิดจากเชื้อรา ฟัยท็อบโทร่า (Phytophthrora sp.) เชื่อโรคนี้ จะทำรายระบบราก ที่ดูดกินอาหาร และลำเลียงไปยังส่วนต่างๆของมะนาว เมื่อระบบรากถูกทำลาย จึงเป็นสาเหตุให้ ส่วนต่างๆของต้นมะนาว ได้รับสารอาหารไม่เต็มที่ ไม่สมบูรณ์ ทำให้ ทรงพุ่ม กิ่ง ก้าน ใบ เหี่ยวแห้ง มีสีเหลือง ซีด

แต่ก็ต้องระวัง ในบางครั้ง อาจจะมีสาเหตุมาจาก เพลี้ย และไรแดงเข้าทำลายก็อาจเป็นไปได้เช่นกัน เราต้องดูให้ดี ก่อนที่จะป้องกันและกำจัด เพราะในการรักษา และบำรุงให้หายนั้น อาการที่เกิดจากเชื้อราฟัยท็อปโทร่า กับอาการที่มีสาเหตุจาก เพลี้ยและไรแดงเข้าทำลายนั้น จะแสดงอาการที่ ต้น และ ใบ คล้ายๆ กัน แต่มีวิธีแก้ไข ด้วยตัวยาที่ต่างกัน

การป้องกัน และบำรุงรักษา มะนาวใบเหลือง ที่เกิดจาก โรคแคงเกอร์ รากเน่าโคนเน่า  และ มะนาวใบเหลือง ที่เกิดจาก เพลี้ยและไรแดง

ต้องสังเกตุดูให้ดีก่อน ว่ามีเพลี้ย หรือไรแดง หรือไม่ หากรู้สาเหตุว่า มาจากเพลี้ยและ ไรแดง ป้องกันและกำจัด เพลี้ยและไรแดงด้วย มาคา สารอัลคาลอยด์กำจัดแมลงปลอดสารพิษ ฝาสีแดง

แต่หากพบว่า มะนาวใบเหลืองนั้น เกิดจากเชื้อรา โรคแคงเกอร์ โรคราคเน่าโคนเน่า ต้องป้องกันและรักษาด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา

อัตราส่วนผสมของตัวยา 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วบริเวณไร่

เราสามารถฉีดพ่นตัวยา ผสมไปกับปุ๋ยน้ำ FK-1 ด้วยในขณะเดียวกัน เนื่องจาก ปุ๋ยน้ำ FK-1 ประกอบด้วย ธาตุหลัก ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชสูง ช่วยให้มะนาวฟื้นตัวได้เร็ว หลังการรักษา และนอกจากนั้น ยังมีธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลงให้กับมะนาวได้อีกด้วยทางหนึ่ง

 

โรครากเน่าโคนเน่า เรื่องน่าเศร้าที่ทำให้มะนาวใบเหลือง

โรคที่สร้างปัญหาให้แก่มะนาวอีกโรคหนึ่งพอๆกับโรคแคงเกอร์ก็คือโรครากเน่าโคนเน่าที่มีสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อราฟัยท็อบทอร่า (phytophthora sp.) ซึ่งเป็นเชื้อโรคที่ทำลายระบบรากที่หาอาหารดูดกินและลำเลียงไปเลี้ยงยังส่วนต่างๆของมะนาวให้ได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วน ถ้ามีส่วนหนึ่งส่วนใดของรากที่เสียหายจากการทำลายของเชื้อราชนิดนี้ กิ่งก้านใบในแถบทรงพุ่มที่ถูกทำลายก็อาจจะมีอาการแห้งเหี่ยวเหลืองซีดได้ด้วยเช่นกัน บางท่านอาจจะงุนงงสงสัยได้ว่าอาจจะเป็นเรื่องของเพลี้ยไฟไรแดงเข้าทำลาย ก็มีส่วนที่เป็นไปได้ถ้าไม่สังเกตุให้ดีอย่างละเอียดถี่ถ้วน ด้วยการขุดสำรวจที่โคนต้นบริเวณด้านที่พบอาการเหลือง ก็อาจจะดูแลแก้ไขแบบผิดวิธีได้ด้วยเช่นกัน

โรครากเน่าโคนเน่านอกจากจะเป็นศัตรูกับมะนาวแล้วยังเป็นศัตรูอันดับต้นๆของทุเรียนด้วยเช่นกัน มีความรุนแรงทำให้ราก ลำต้น กิ่งก้านใบของทุเรียนล้มตายยกสวนจนเจ้าของสวนแถบภาคตะวันออกถอดใจไปก็มากต่อมาก ในอดีตสวนส้มแถบรังสิตซึ่งเป็นญาติในตระกูลเดียวกับมะนาวที่มีการลอกเลนในร่องสวนขึ้นมากลบทับที่โคนต้นทำให้บางครั้งรากขาดอากาศอ่อนแอและง่ายต่อการเข้าทำลายของเชื้อโรคจากการเปียกแฉะชื้นฉ่ำของขี้เลนทำให้สวนส้มล้มตายทรุดโทรมลงอย่างรวดเร็วเช่นกัน เพราะเชื้อราฟัยท็อพทอรานั้นสามารถที่จะแพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วในระยะเวลาเพียงสองสามสัปดาห์ ถ้าไม่มีการป้องกันกำจัดอย่างถูกต้องตรงกับโรค

ต้นมะนาวที่อยู่ในภาวะหน้าฝนหรือท้องร่องเปียกแฉะก็อาจจะมีความซุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรครากเน่าโคนเน่าและจะแสดงอาการที่ใบเริ่มมีสีเหลืองซีดจางได้ โดยที่ไม่ใช่เป็นโรคกรีนนิ่งหรือทริตเตซ่าถ้าแก้ไขโดยการฉีดพ่นซิงค์หรือสังกะสีก็อาจจะผิดพลาดไม่ทันการณ์ ฉะนั้นควรป้องกันรักษาโดยหาจุลินทรีย์ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อเช้ือราโรคพืชโดยเฉพาะโรครากเน่าโคนเน่ามาเฝ้ารักษาป้องกันให้อยู่อาศัยที่โคนต้นหรือรากของมะนาวอย่างสม่ำเสมอ เพราะหลักการทำงานของจุลินทรีย์คือพวกมากกว่าชนะพวกที่น้อยกว่า ฉะนั้นถ้าดำรงรักษาเผ่าพันธุ์ของกลุ่มจุลินทรีย์ดีอย่างไตรโคเดอร์ม่า (Tricoderma sp.) ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่เป็นปฏิปักษ์หรือเป็นศัตรูของเชื้อราโรคพืชที่ดีเยี่ยม โดยการใช้ผงสปอร์ของไตรโคเดอร์ม่า 1 กิโลกรัม ผสมกับปุ๋ยหมักปุ๋ยคอกหรือรำละเอียด 10 ก.ก.คลุกเคล้าให้เข้ากันจนเรียบร้อยดีแล้วจึงนำไปผสมกับปุ๋ยหมักปุ๋ยคอกอีก 40 ก.ก.พรมน้ำพอชื้นหมักทิ้งไว้ 2-3 คืนแล้วนำไปใส่โคนต้นมะนาวประมาณต้นละ 1 กิโลกรัม (หลังจากหมักขยายแล้ว) ต้นทุนจะตกประมาณกิโลละ 2 บาท จะช่วยทำให้มะนาวปลอดจากโรครากเน่าได้อย่างยาวนานและดีเยี่ยมและที่สำคัญประหยัดดีอีกด้วยนะครับ

ทําไงดีครับ?#

มะนาวใบหยิกงอ สาเหตุมาจาก#หนอนชอนใบ คลิปนี้จะมาบอกถึงสาเหตุ และ วิธีป้องกันหนอนชอนใบ ครับ

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆECONOMY

Leave a Comment