มหาจุฬาลงกรณ์ – เกษตรศาสตร์ – ยูงทอง | ดอก ยูง ทอง

มหาจุฬาลงกรณ์ – เกษตรศาสตร์ – ยูงทอง


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

การขับร้องประสานเสียงเพลงพระราชนิพนธ์ \”มหาจุฬาลงกรณ์\” , \”เกษตรศาสตร์\” และ \”ยูงทอง\” โดย CU Chorus , KU Chorus และ TU Chorus ณ ศาลาเฉลิมกรุง วันเสาร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ.2553 งานแสดงดนตรีขับร้องประสานเสียง 3 สถาบัน ครั้งที่ 5 (CKT Choral Concert 5)

มหาจุฬาลงกรณ์ - เกษตรศาสตร์ - ยูงทอง

เพลงพระราชนิพนธ์-ยูงทอง


เพลงพระราชนิพนธ์ยูงทอง
ยูงทอง เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ ลำดับที่ 36 ประพันธ์ทำนองโดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยพระองค์ได้พระราชทานเพลงนี้ ให้เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506
ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองในปี พ.ศ. 2477 เป็นต้นมา ทางมหาวิทยาลัยได้ใช้เพลงประจำมหาวิทยาลัยทำนองมอญดูดาว ซึ่งประพันธ์โดยขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนนาคพันธุ์) เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยเรื่อยมา จนกระทั่งปี พ.ศ. 2504 ได้มีนักศึกษากลุ่มหนึ่งขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสเข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ขณะเสด็จมาทรงดนตรี ณ เวทีลีลาศ สวนอัมพร ภายในพระราชวังดุสิต ในวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2504
พระองค์รับสั่งว่าจะทรงพระราชนิพนธ์เพลงประจำมหาวิทยาลัยพระราชทานให้แก่นักศึกษาธรรมศาสตร์ จนในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 พระองค์เสด็จฯ มาทรงดนตรี ณ หอประชุมใหญ่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และทรงบรรเลงทำนองเพลงที่จะพระราชทานให้เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยด้วย โดยมีนายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์) เป็นผู้ประพันธ์เนื้อร้อง และยกร่างโดยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ชื่อ ยูงทอง นี้ เรียกตามชื่อต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นหางนกยูงฝรั่ง ออกดอกสีเหลืองและแดงในช่วงหน้าร้อน ซึ่งทรงปลูกไว้จำนวน 5 ต้น ที่หน้าหอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำร้อง : นายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์)
แหล่งศึกษาร่มเย็นเด่นริมสายชล
เราทุกคนรักดุจหัวใจ
ปลูกยูงทองไว้เคียงโดมมุ่งประโลมโน้มใจรัก
ธรรมจักรนบบูชาเทิดไว้
เหลืองแดงแสงธรรมศาสตร์วิไล
ปกแผ่ไปในทุกทาง
สัญลักษณ์ดีเด่นเห็นกระจ่าง
อย่าจืดจางรักร่วมทางกันไป
ทรงธรรมปานดังตราชูเด่น
ทรงเป็นดวงธรรมนำทางให้
พิทักษ์รักษาเชิดชูไว้
อบอุ่นใจไปทุกกาล
พระธรรมสถิตย์ร่วมจิตสมาน
ปฏิญาณรักสามัคคี
รักยูงทองงามเด่นเหนือนที
ส่งศักดิ์ศรีไว้ให้ยิ่งยืนนาน

เพลงพระราชนิพนธ์-ยูงทอง

ต้นหางนกยุงเหลืองหายาก


ดอกหางนกยูง
ต้นหางนกยูง
มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิดชนิด
ต้นเล็กมีหนามเป็นพันธุ์ดั้งเดิมของไทยมีอยู่ทั่วไปมีหลากสี…แต่ต้นไม่ใหญ่
ต้นขนาดใหญ่ เป็นไม้เนื้ออ่อนผลัดใบในหน้าแล้งออกดอกช่วงปลายเมษายนถึงพฤษภาคมออกดอกปีละ 1 ครั้ง..
หางนกยูงปลูกได้ทั่วไปชอบแดดจัดเจริญเติบโตได้ดีในที่ชุ่มชื้น
เป็นต้นไม้ตระกูลถั่วปลูกแล้วบำรุงดินดีใบเล็กย่อยสลายง่าย
แต่ปลูกใกล้บ้านไม่ดีเพราะเป็นไม้เนื้ออ่อนอาจจะดันบ้านและล้มทับบ้านได้..ต้องปลูกในที่มีบริเวณกว้างๆหรือปลูกประดับตามข้างทางก็สวยงาม
หางนกยูงขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
มีจำหน่ายตามร้านขายต้นไม้ประดับทั่วไปทั้งตัวเล็กและต้นใหญ่

ต้นหางนกยุงเหลืองหายาก

อย่าตัดทิ้งเด็ดขาด ต้นหางนกยูงไทย สรรพคุณดีมากใครปลูกไว้ต้องดูไม่ได้เป็นแค่ไม้ประดับ


ต้นหางนกยูงไทยไม้ประดับที่สรรพคุณทางสมุนไพรดีมาก

อย่าตัดทิ้งเด็ดขาด ต้นหางนกยูงไทย สรรพคุณดีมากใครปลูกไว้ต้องดูไม่ได้เป็นแค่ไม้ประดับ

เพลง ยูงทอง ธรรมศาสตร์ 80 ปี


เพลง ยูงทอง ธรรมศาสตร์ 80 ปี

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่CRYPTO

1 thought on “มหาจุฬาลงกรณ์ – เกษตรศาสตร์ – ยูงทอง | ดอก ยูง ทอง”

Leave a Comment