ระบอบการปกครองแบบเผด็จการและระบอบการประชาธิปไตย | การปกครองแบบเผด็จการ

ระบอบการปกครองแบบเผด็จการและระบอบการประชาธิปไตย


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

โดย
นายภูริพัฒน์ อานุ ม.3/2 เลขที่10
นายเจนวิทย์ เสริมสันติวาณิช ม.3/2 เลขที่36

ระบอบการปกครองแบบเผด็จการและระบอบการประชาธิปไตย

ติวสังคม ep.21 การปกครองแบบประชาธิปไตย และแบบเผด็จการ


การปกครองแบบประชาธิปไตย และแบบเผด็จการ ทั้งสองแบบนี้
แตกต่างกันอย่างไร?
มีข้อดี ข้อเสียไหม?
แต่ละประเทศใช้การปกครองแบบไหนกัน?
วีดีโอนี้มีคำตอบให้ค่า

ติวสังคม ep.21 การปกครองแบบประชาธิปไตย และแบบเผด็จการ

ม 3 ครั้งที่ 17 การปกครองแบบเผด็จการ


คลิปการเรียนการสอนนี้สร้างขึ้นเพื่อใช้สอนนักเรียนโรงเรียนพระแก้วอาสาวิทยาเท่านั้น ตามศักยภาพและบริบทของโรงเรียนค่ะ

ม 3  ครั้งที่  17  การปกครองแบบเผด็จการ

วิชาสังคมศึกษา | ระบอบการปกครองและรูปแบบของรัฐ


ระบอบการปกครอง รูปแบบของรัฐ วิชาสังคมศึกษา
ระบอบการปกครอง (Regime of Government) หมายถึง แนวความคิดรวบยอด หรือ ลัทธิทางการเมืองที่นำมาใช้เป็นหลักในการปกครองรัฐ การวางระบบการเมือง การกำหนดสิทธิเสรีภาพราษฎร ฯลฯ ระบอบการปกครองของประเทศต่างๆ ในโลกนี้ อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ระบอบใหญ่ๆ คือ
1.ระบอบประชาธิปไตย
โดยคำว่า Democracy มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ Demos แปลว่า พลเมือง / ประชาชน และ Kratos แปลว่า การปกครอง / รัฐบาล / อำนาจปกครอง จากรากศัพท์ดังกล่าวนี้จะเห็นได้ว่า ประชาธิปไตย มีความหมายอยู่ในตัวแล้วว่า ประชาชนเป็นใหญ่ กล่าวคือ เป็นการปกครองที่อำนาจสูงสุดของรัฐบาลเป็นของประชาชน หรือเป็นการปกครองโดยประชาชน หรือหมายถึงการปกครองที่อำนาจสูงสุดอยู่ที่ประชาชน
2.ระบอบเผด็จการ
ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ (Dictatorship)หรือ อำนาจนิยม เป็นระบอบที่ดำรงอยู่ในขั้วตรงกันข้ามกับระบอบประชาธิปไตย กล่าวคือ ระบอบที่มีการรวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ให้อำนาจอยู่ในมือคนเพียงคนเดียว หรือ กลุ่มคนเพียงไม่กี่คน รัฐบาลไม่ต้องรับผิดชอบต่อผู้ใด ระบอบเผด็จการ มักจะมีหลักการพื้นฐานสำคัญๆ อย่างเช่นว่า
1) การปกครองระบอบนี้ จะเป็นระบอบแห่งการผูกขาดอำนาจทางการเมือง
2) ในระบอบการปกครองเหล่านี้ เสรีภาพต่างๆ ทางการเมืองมีน้อยหรือไม่มีเลย
3) ฝ่ายค้านถูกยุบเลิกหรือถูกจำกัดจนไม่มีความหมายอะไรเลย
4) ประการอื่นๆ อย่างเช่น การที่ใช้ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวเข้ามาแทนที่ระบบพรรคการเมืองหลายพรรค หรือ บางครั้งอาจไม่มีพรรคการเมืองได้เลย / การที่ระบบการเลือกตั้งที่มีอยู่เป็นเรื่องของความต้องการที่จะแสดงให้เห็นว่า ผู้อยู่ใต้ปกครองได้รับรอง และยอมรับอำนาจของผู้ปกครองแล้ว หาใช่ เป็นการให้ผู้อยู่ใต้ปกครองเลือกเฟ้นตัวผู้ปกครองแต่อย่างใด เป็นต้น

ถ้าชอบคลิปลองโหลดมาทดลองเรียนกันได้เลย แต่ถ้าอยากดูทุกคลิปกดสมัครได้เลยราคาไม่แพง แถมมีชีทสรุปกับแบบฝึกหัดครบ 7 วิชาด้วยนะ
📲ดาวน์โหลด : https://bit.ly/YTdownloadstartdee

วิชาสังคมศึกษา | ระบอบการปกครองและรูปแบบของรัฐ

ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและแบบเผด็จการ


ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและแบบเผด็จการ

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่ECONOMY

5 thoughts on “ระบอบการปกครองแบบเผด็จการและระบอบการประชาธิปไตย | การปกครองแบบเผด็จการ”

  1. 867870 546507You created some good points there. I did a search on the topic and discovered many people will agree with your blog. 232184

    Reply

Leave a Comment