29 มี. ค. 58 โรงเรียนคนทำนาเกลือ | วิธี ทำ นา เกลือ

29 มี. ค. 58 โรงเรียนคนทำนาเกลือ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

29 มี. ค. 58 โรงเรียนคนทำนาเกลือ

วิธีทำนาเกลือตอนที่ 2


อาชีพที่สำคัญ พื้นที่ทำนาเกลือกำลังจะหมดไป สั่งซ้อเกลือเกษตรกรทำเองขายเอง0899925619

วิธีทำนาเกลือตอนที่ 2

วิถีชุมชนเรือนแพสะแกกรัง จ.อุทัยธานี : ซีรีส์วิถีคน [CC] (5 ก.ค. 64)


\”แม่น้ำสะแกกรัง\” มีชุมชนชาวแพที่มีวิถีชีวิตผูกพันสายน้ำแห่งนี้ โดยมีเรือนแพที่มีทะเบียนถูกต้อง ประมาณ 350 หลัง มีผู้อยู่อาศัยจริงประมาณ 100 กว่าหลังคาเรือน ชาวแพมีอาชีพทำประมงน้ำจืด เลี้ยงปลาในกระชัง เช่น ปลาสวาย, ปลาแรด และปลาเทโพ นอกจากนี้ชาวแพก็ยังจับปลาจากในแม่น้ำสะแกกรังหรือแหล่งน้ำอื่น ๆ มาทำเป็นปลาแห้ง ปลาเค็ม แล้วนำไปขายในตลาดเป็นรายได้ให้กับครอบครัว นอกจากนั้นยังมีการปลูกพืชผักลอยน้ำ เช่น เตย เป็นต้น เรือนแพเป็นทั้งบ้านอันอบอุ่นและที่ทำมาหากินเลี้ยงชีพของชาวบ้าน ความเป็นอยู่ของคนที่นี่สงบสุข เรียบง่าย สามารถพึ่งพาอาศัยกันได้ทุกเรื่อง คนดังของที่นี่มีหลายคน เช่น
คนที่ 1 \”ป้าแต๋วปลาย่างรมควัน\” นางศรีวภา วิบูรณ์รัตน์ หรือ ป้าแต๋ว อายุ 65 ปี หนึ่งในชุมชนชาวแพแม่น้ำสะแกกรัง ที่อาศัยสายน้ำแห่งนี้เลี้ยงชีวิตนาน ยังคงดำเนินวิถีชีวิตย่างปลา ด้วยข่าไม้ย่างปลาแบบโบราณในเรือนแพ ตั้งแต่ จากรุ่นปู่ ย่า ตา ยาย มาจนถึงทุกวันนี้ เป็นการสืบสานภูมิปัญญาแปรรูปปลาจากรุ่นสู่รุ่น นำปลาไปย่างรมควัน กรรมวิธีการทำต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ ใช้ปลาเนื้ออ่อน ปลาเกร็ด ปลาดุก ปลาช่อน ข่าย่างปลามีขนาดกว้าง 3 ศอก ยาว 10 ศอก ทำจากไม้ย่างปูพื้น ใช้สังกะสีกรุไม้กระดานรอบ ๆ ก่อน เอาดินละเอียดใส่พื้นข่าให้แน่นและหนา ใช้ขี้เลื่อยไม้เป็นเชื้อเพลิงในการย่าง โดยนำปลาวางลงบนตะแกรง ใช้เสื่อรำแพนสานจากไม้ไผ่คลุมปิดทับ ย่างด้วยไฟอ่อนไปเรื่อยๆนาน 3 4 วัน จนเนื้อปลาแห้งเบากรอบ แต่ระหว่างนั้นให้กลับปลาเพื่อจะได้สุกและสีเสมอกัน
คนที่ 2 \”ป้าเทือง ผู้เสียสละแพให้กับนกกวัก\” \”ประเทือง แจ่มโต\” หรือ ป้าเทือง อาศัยอยู่ในเรือนแพตั้งแต่กำเนิด คุ้นเคยกับธรรมชาติรอบ ๆ ตัว มีความผูกพันกับสายน้ำและสัตว์ในธรรมชาติ อย่างครอบครัวนกกวัก ป้าเทืองแบ่งแพให้อยู่อาศัย 1 แพ โดยนกกวักจะอยู่ในกอต้นเตยด้านข้างของแพ บางเวลานกกวักก็จะเดินเล่นรอบ ๆ แพ ป้ารัก หวงและห่วง ห้ามคนเข้าใกล้กอต้นเตยเป็นเด็ดขาด ทุกวันป้าจะเอาไข่แดงไปวางให้นกกวักได้กินเป็นอาหาร นอกจากนั้นป้ายังมีปลาที่มาอาศัยอยู่รอบ ๆ แพของป้า รวมถึงนกอีกหลายชนิดที่วนเวียนมาทำรังที่บ้านของป้า
เรือนแพ ที่อยู่อาศัยของชาวบ้านที่นี่ต้องซ่อมทุก ๆ 4 ปี การซ่อมแซมแพนี้เป็นความสามารถเฉพาะตัว ต้องอาศัยคนที่เชี่ยวชาญ ความรู้การซ่อมแพเป็นภูมิปัญญาที่ส่งต่อกันรุ่นต่อรุ่น ในส่วนของวัสดุที่เป็นไม้ ที่นำมาสร้างและซ่อมแซมเรือนแพก็มีมูลค่าสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนอาจพูดได้ว่าค่าใช้จ่ายในการใช้ชีวิตอยู่บนเรือนแพนั้นแพงกว่าที่จะขึ้นไปใช้ชีวิตอยู่บนบก สาเหตุนี้ทำให้ชาวเรือนแพบางส่วนย้ายขึ้นไปอยู่บนบกกันมากขึ้นปัจจุบันนี้มีการคุมกำเนิดเรือนแพไม่ให้มีการสร้างเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นการสิ้นสุดของชุมชนเรือนแพที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทยในอนาคต
ติดตามในรายการซีรีส์วิถีคน วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม 2564 เวลา 17.30 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง http://www.thaipbs.or.th/TheConnect

กด Subscribe ติดตามรายการดี ๆ ของช่อง ได้ที่ : http://thaip.bs/YSBht5j
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBS
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
LINE : http://www.thaipbs.or.th/AddLINE
YouTube : http://www.youtube.com/ThaiPBS

วิถีชุมชนเรือนแพสะแกกรัง จ.อุทัยธานี : ซีรีส์วิถีคน [CC] (5 ก.ค. 64)

“เรือขนเกลือ” วิถีชาวน้ำ จ.สมุทรสาคร : ซีรีส์วิถีคน (9 ธ.ค. 62)


“การใช้เรือบรรทุกเกลือ” ที่บ้านกาหลง และบ้านบางโทรัด อ.เมือง จ.สมุทรสาคร ชาวบ้านที่นี่มีอาชีพหลากหลายที่เกี่ยวกับน้ำทะเล เนื่องจากพื้นที่ของหมู่บ้านนั้นตั้งอยู่ติดกับทะเล การทำ “นาเกลือ” เป็นสิ่งที่ทำกันมาเนิ่นนานตั้งแต่บรรพบุรุษ เกลือของที่นี่เป็นเกลือที่เอาไว้ใช้เพื่อการอุปโภคในโรงงานอุตสาหกรรม ชาวบ้านที่นี่จะเก็บเกลือไว้ในอาคารไม้ไผ่ ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “ยุ้งเกลือ” ในหน้าแล้งเกลือจะเต็มยุ้งพร้อมขนออกไปขาย ซึ่งการขนเกลือก็ต้องใช้เรือ เพราะถนนยังเข้าไม่ถึง ดังนั้นจึงไม่แปลกที่เราจะเห็นยุ้งตั้งอยู่ขนาบกับคลองเล็กคลองน้อย ก็เพื่อเป็นการสะดวกในการใช้เรือเข้ามาขนเกลือนั่นเอง ในอดีตนั้นจะขนเกลือออกไปด้วยการหาบ หลังจากหาบก็เริ่มใช้เรือเข้ามาขน โดยสมัยก่อนมีเรือขนเกลือมากกว่า 100 ลำเลยทีเดียว แต่ปัจจุบันในพื้นที่แถบนี้ลดลงไปเหลือไม่ถึง 10 ลำแล้ว เรือไม้เก่าแก่เหล่านี้ส่วนใหญ่นั้นมีมาตั้งแต่รุ่นพ่อแม่

“ลุงพร” ชัยพร กี้เจริญ ผู้เป็นเจ้าของเรือขนเกลือลำใหญ่ที่สุดแห่งบ้านบางโทรัด จ.สมุทรสาคร เล่าย้อนให้ฟังว่า ลุงรับจ้างขนเกลือตั้งแต่อายุ 24 ปี ปัจจุบันขับเรือขนเกลือมาเกือบ 40 ปี โดยมีพี่ชายฝึกหัดให้ตั้งแต่หนุ่ม ๆ แล้ว การออกไปขนเกลือจะใช้เวลานานเพราะต้องรอน้ำขึ้นน้ำลง การเดินเรือที่ใช้ภูมิปัญญา “ธรรมชาติ” เป็นผู้กำหนด ว่าออกเรือได้เมื่อไรนั้นก็เป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก “น้ำเป็น น้ำตาย” เป็นศัพท์ที่ชาวบ้านใช้เรียกน้ำเวลาที่จะเอาเรือออกไปทำงาน หากธรรมชาติไม่เป็นใจ เรือก็ไม่สามารถที่จะออกไปทำงานได้ ลุงพรเล่าว่าการขับเรือและการเป็นนายท้ายเรือไม่มีใครสอน ทุกอย่างต้องจดจำและแก้ปัญหาเฉพาะหน้า โดยเฉพาะการที่ต้องรู้ใจสายน้ำและจดจำคลอง ไม่ว่าจะกี่คดกี่โค้งต้องรู้ให้หมด และเป็นงานที่หนัก
📌 FACEBOOK Live : http://www.facebook.com/ThaiPBSFan/videos/1476207595864287
📌 ชมสดออนไลน์ http://www.thaipbs.or.th/live
📌 ชมย้อนหลัง http://www.thaipbs.or.th/TheConnect
เรือบรรทุกเกลือ วิถีชาวน้ำ เรือขนเกลือ

กด Subscribe
ติดตามรายการดีๆของช่อง ได้ที่ : http://goo.gl/hdy2ye
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
LINE : http://www.thaipbs.or.th/AddLINE
YouTube : http://www.youtube.com/ThaiPBS

“เรือขนเกลือ” วิถีชาวน้ำ จ.สมุทรสาคร : ซีรีส์วิถีคน (9 ธ.ค. 62)

นาดำ\”ทำง่ายไม่ยากอย่างที่คิด


นาดำ\

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆCRYPTO

2 thoughts on “29 มี. ค. 58 โรงเรียนคนทำนาเกลือ | วิธี ทำ นา เกลือ”

  1. 28216 335217I dont agree with this particular article. Nevertheless, I did researched in Google and Ive found out which you are correct and I had been thinking within the incorrect way. Continue producing quality material comparable to this. 578500

    Reply

Leave a Comment