ความจำเป็นของการจัดจั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน | กองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน

ความจำเป็นของการจัดจั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

จัดทำโดยกรมชลประทาน

ความจำเป็นของการจัดจั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน

ความรู้เรื่องหลักการชลประทานเบื้องต้น


ความรู้เรื่องหลักการชลประทานเบื้องต้น

วิดีทัศน์ศูนย์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่


วิดีทัศน์ศูนย์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

วิดีทัศน์ศูนย์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

การมีส่วนร่วมของชุมชนคืออะไร ความหมาย ความสำคัญและปัญหาอุปสรรคของการมีส่วนร่วม /ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ


การมีส่วนร่วมของชุมชน หรือ Community Participation หมายถึง การที่ประชาชนหรือสมาชิกมีส่วนในการคิด วิเคราะห์ วางแผน และดำเนินการ รวมทั้งติดตามประเมินผลและร่วมรับผลประโยชน์ ซึ่งการมีส่วนร่วมนี้ถือเป็นปัจจัยสำคัญของความสำเร็จในการพัฒนาชุมชนหรือองค์กร คือเมื่อสมาชิกมีส่วนร่วมแล้ว ย่อมนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการและเกิดความยั่งยืน
การมีส่วนร่วมแบ่งได้ 5 ระดับ คือ
ระดับที่ 1. to inform เป็นระดับของการมีส่วนร่วมต่ำที่สุด ประมาณ ไม่เกิน 10% เป็นการมีส่วนร่วมในการรับรู้ ข้อมูลข่าวสาร โดยกิจกรรมที่ทำอาจเป้นการเชิญประชุมรับฟังการชี้แจงข้อมูล หรือนโยบาย อาจเป็นประกาศ ผ่านทางเอกสาร เสียงตามสาย ทางวิทยุ ทีวี ซึ่งจะเป็นการสื่อสารทางเดียว สมาชิกอาจเข้าใจหรือไม่เข้าใจครบถ้วน
ระดับที่ 2. to consult เป็นการมีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ ผ่านกิจกรรมเช่น เวทีประชาคม การจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น ซึ่งการมีส่วนร่วมประมาณ 1020 %
ระดับที่ 3. to involve เป็นระดับที่สมาชิกมีโอกาสเข้ามามีบทบาทมากขึ้น อาจเป็นกรรมการ คณะทำงาน มีการประชุมร่วมกัน เช่น เป็นการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อวางแผน ระดับนี้มีส่วนร่วมประมาณ 3040 %
ระดับที่ 4 to collaborate ระดับนี้สมาชิกได้มีส่วนร่วมมากขึ้นในลักษณะของหุ้นส่วน อาจเป็นลักษณะทำโครงการร่วมกัน หรือเป็นคณะกรรมการที่ทำงานร่วมกัน โดยมีระดับของส่วนร่วมประมาณ 4050% อย่างไรก็ตาม ระดับนี้ ฝ่ายที่มีสิทธิมีเสียงหรือบริหารจัดการหลักคือฝ่ายรัฐบาล และงบประมาณก็มักมาจากฝ่ายรัฐบาลหรือองค์กรภายนอก ตัวอย่างเช่น คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่ประธานเป็นนายอำเภอ กรรมการประกอบด้วยหัวหน้าส่วนงานหรือสถานศึกษาในอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และภาคธุรกิจ หรือโครงการที่รพ.สต.ทำร่วมกับอสม.
ระดับที่ 5 to empower เป็นระดับความร่วมมือที่สูงสุด คือ 90100 % ซึ่งสมาชิกเป็นเจ้าของโครงการ เป็นผู้รับผิดชอบบริหารจัดการโครงการ ดำเนินการจัดหางบประมาณเอง ภาครัฐบาลเป็นฝ่ายคอยช่วยสนับสนุนเมื่อชุมชนร้องขอ เช่น ขอวิทยากร หรือของรางวัล
ปัญหาอุปสรรคของการมีส่วนร่วม แบ่งเป็น 2 ส่วน
1.ส่วนภาครัฐหรือผู้บริหาร ได้แก่
1) การมี mindset ว่าประชาชนไม่มีความรู้ ไม่มีความสามารถ ไม่มีศักยภาพเพียงพอ
2) ไม่เห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชน
3) เคยชิน ง่ายดี
4) ไม่รู้วิธีการสร้างการมีส่วนร่วม
2.ส่วนภาคประชาชน ได้แก่
1) เคยชิน
2) คิดว่าตนเองไม่รู้ ไม่มีความสามารถ ไม่กล้า
3) ไม่เห็นความสำคัญ คิดว่าไม่เกี่ยวข้อง
4) ไม่เคยได้รับโอกาส
Thesis EP.41 การมีส่วนร่วมของชุมชน วิธีสร้างการมีส่วนร่วม participation
ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ ช่อง @คลินิกผู้นำ
อาจารย์มหาวิทยาลัย วิทยากร ผู้บริหาร มีประสบการณ์ในการสอนและทำงานกว่า 30 ปี
ยินดีสอนบรรยาย และเป็นที่ปรึกษา เกี่ยวกับ วิทยานิพนธ์ วิจัย R to R
Public speaking พฤติกรรมบริการ
รับให้คำปรึกษาการทำคลิปวิชาการ คลิปให้ความรู้
รับบริจาคสนับสนุนค่าอุปกรณ์และค่าใช้จ่ายในการทำคลิป บัญชีธนาคารกรุงไทย
นางอาภา ภัคภิญโญ 0880054166
ติดต่อ
[email protected]
Line ID: apayoung
https://www.facebook.com/ApaPuckpinyo FB คลินิกผู้นำ
https://www.facebook.com/AjarnApa FB คลินิกวิทยานิพนธ์
เผยแพร่คลิปทุก อังคาร พฤหัส และเสาร์

การมีส่วนร่วมของชุมชนคืออะไร ความหมาย ความสำคัญและปัญหาอุปสรรคของการมีส่วนร่วม /ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ

ทำความรู้จักกับอาสาสมัครชลประทาน


จัดทำโดยกองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรมชลประทาน

ทำความรู้จักกับอาสาสมัครชลประทาน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆCRYPTO

2 thoughts on “ความจำเป็นของการจัดจั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน | กองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน”

  1. 377815 497957Its a shame you dont have a donate button! Id most surely donate to this outstanding internet website! I suppose in the meantime ill be pleased with bookmarking and putting your Rss feed to my Google account. I look forward to fresh updates and will share this weblog with my Facebook group: ) 415596

    Reply

Leave a Comment