ต้มน้ำกระท่อม? ง่ายๆ​ อร่อยกลมกล่อม​ | วิธี ต้ม น้ํา ท่อ ม

ต้มน้ำกระท่อม? ง่ายๆ​ อร่อยกลมกล่อม​


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ต้มน้ำกระท่อม?  ง่ายๆ​  อร่อยกลมกล่อม​

6 อันดับ สายพันธุ์ใบกระท่อม ที่กินได้เเละไม่ควรกิน (พืชกระท่อม)


6 อันดับ สายพันธุ์ใบกระท่อม ที่กินได้เเละไม่ควรกิน (พืชกระท่อม)
คลิปใหม่ 9 สายพันธุ์ ใบกระท่อม มีสายพันธุ์อะไรกันบ้าง คอท่อมห้ามพลาด ตามมาดูกันนะ
https://www.youtube.com/watch?v=0XmFRE9zqvU
หากจะพูดถึงใบกระท่อม หลายคนคงนึกว่ามันเป็นยาเสพติด อย่างเช่น 4×100 ที่มีส่วนผสมของใบกระท่อมเป็นหลัก แต่ความจริงแล้ว กระท่อมนั้นเป็นยา ไม่ใช่อาหาร หากบริโภคเกินขนาด ก็จะมีผลข้างเคียง และทำให้ติดได้ใบกระท่อมได้นั่นเอง เนื่องจากในกระท่อมมีสาร “Mitragynine” เป็นสารจำพวกแอลคาลอยด์ที่มีคุณสมบัติความเป็นด่างมาก มีโทษต่อร่างกายที่ทำให้เกิดอาการหลอน เคลิ้มฝัน มึนงง เหงื่อออก ทนต่อความหนาวไม่ได้ และนอนไม่หลับ เเล้วกระท่อมมีกี่สายพัน มีประโยชน์ การใช้ยังไงบ้างนั้น ก็ตามไปรับฟังกันได้เลยคร้าบ
กระท่อมมีกี่สายพันธุ์
แม้ว่ากระท่อมจะคือ Mitragyna speciosa (Korth.) Havil. ทั้งหมดแต่เมื่อแบ่งย่อยอย่างละเอียดในปัจจุบันพบว่ามีหลายสายพันธ์เป็นเวริเอชั่นย่อยด้วยกัน ตามลักษณะที่แตกต่างตามฟอร์มของรูปใบและสรรพคุณหรือรสชาติ
1.กระท่อมสายพันธุ์ก้านแดง เมามาก นิยมต้ม ไม่นิยมเคี้ยวเนื่องจากเมามาก บางทีทำให้ปวดหัว
2.กระท่อมสายพันธุ์แตงกวา ก้านสีเขียว ใบเรียวยาวผิวหยาบใบนิ่ม มีทั้งสายพันธ์ใต้(ใบเรียวกว่า ใบจะหยาบๆ นิ้มๆ บางทีกลายไปเป็นใบยาวๆคล้ายใบมะม่วง) กับสายพันธ์แตงกวาภาคกลาง(ใบป้อมกว่า ใบจะมันๆ แข็งกว่า)
3.กระท่อมสายพันธุ์ใบมาเลย์ ใบบาง มักมีเม็ดขาวๆใต้ใบ (บางทีเรียกเม็ดเย็ะนาน 555)
4.กระท่อมสายพันธุ์โพธิ์ทอง ใบใหญ่คล้ายใบโพธิ์ ใบใหญ่ๆ
5. กระท่อมสายพันธุ์เหรียญทอง กระท่อมสายพันธ์ภาคกลาง ใบบางอ้วน ปลายแหลม ใบกรอบๆ คนเคี้ยวชอบมาก
6.กระท่อมสายพันธุ์หางกั้ง, กระท่อมสายพันธุ์ยักษ์ใหญ่, กระท่อมสายพันธุ์ยักษาใหญ่ (ภาคกลางเรียกแมงดา) ใบหนามีหางคล้ายหางกั้ง มี 7 หางบ้าง 9 หาbงบ้าง มีชนิดทั้งก้านเขียวก้านแดง(ก้านแดงเจอน้อย) พันธ์นี้อร่อย หอมเวลาต้ม ส่วนใหญ่ที่ใช้ก้านแดงเพราะก้านเขียวพอกินแล้วมันมีเมือก กว่าจะออกฤทธิ์ก็นาน ก้านแดงออกฤทธิ์ได้เร็วกว่าก้านเขียวประมาณ 5 นาที ความคงทนของฤทธิ์ ก้านแดงมีฤทธิ์นานกว่าก้านเขียว 2 ชั่วโมงในขณะที่กินปริมาณเท่ากันเวลาเดียวกัน” เวลาปรุงยามักใช้ก้านเขียวก้านแดงเป็นกระท่อมตัวผู้ ก้านเขียวตัวเมีย ซึ่งก็ดีเหมือนกัน ถ้าใช้ก้านแดงจะแรงกว่า ปริมาณที่ใช้ก็จะต้องลดปริมาณลง เวลาปรุงยาก็ใช้ทั้ง 5 คือ ราก เปลือก ใบ ดอก เมล็ด แต่ส่วนใหญ่ใช้ใบ
กระท่อมต่างจากกระทุ่มอย่างไร
หนังสือชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย ได้ระบุพืชจีนัส Mitragyna ที่พบในประเทศไทย อยู่ 5 สปีชีส์ ที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อทั่วไปและชื่อสามัญ ดังนี้
1. M. diversifolia (Wall ex G. Don) Havil. กระทุ่ม กระท่อมขี้หมู กระทุ่มดง กระทุ่มนา ท่อมขี้หมู ตุ้มน้ำ
2. M. hirsuta Havil. กระทุ่มโคก ตุ้มเขา ทุ่มพาย
3. M. parvifolia Korth. กระทุ่มใบเล็ก
4. M. rotundifolia (Roxb.) Kuntze กระทุ่มเนิน แก่นเหลือง ตุ้มกว้าว
5. M. speciosa (Korth.) Havil. กระท่อม ท่อม อีถ่าง

จะเห็นได้ว่ามีเพียง M. speciosa (Korth.) Havil. เท่านั้นที่จัดเป็น “กระท่อม” นอกนั้นเป็น “กระทุ่ม” ซึ่งพบได้มากกว่า แต่สมัยก่อนไม่ใช้กันเท่าไรอาจเป็นเพราะสรรพคุณอ่อนกว่าและรสชาติขมพร้อมทั้งเมากว่า ส่วนที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนคือปลายใบ “กระทุ่ม” ที่ป้านเป็นพุ่มกว่า
และอีกจุดหนึ่งคือกระท่อมเส้นใบมักพบเส้นใบแตกออกไปเป็นรูปตัว V ในขณะที่กระทุ่มจะไม่พบ และก้านใบของกระทุ่มจะสั้นติดกับกิ่งในขณะที่กระท่อมก้านยาวกว่า อีกทั้งชาวใต้บางกลุ่มกล่าวว่ามี “กระทุ่มกลาย” ซึ่งเกิดจากการกลายพันธ์จากกระท่อมกลายเป็น กระทุ่มกลาย ซึ่งจะขมกว่ามากและเมากว่ามาก ชาวพื้นที่จะไม่กินกัน นอกจากนั้นใบจะมันกว่าและก้านสั้นกว่า แต่ลักษณะอื่นๆจะยังคล้ายๆต้นพันธ์เดิมอยู่
สรรพคุณทางยา
สมัยโบราณมีการใช้ใบกระท่อมเพื่อรักษาการติดเชื้อในลำไส้ แก้ท้องเสีย ท้องร่วง บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ลดไข้ บรรเทาอาการไอ ทำให้นอนหลับ โดยใช้ใบสดหรือใบแห้งนำมาเคี้ยว สูบ หรือชงเป็นน้ำชา กลุ่มผู้ใช้แรงงานและเกษตรกรบริโภคใบกระท่อมเพื่อกดความรู้สึกเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า ทำให้ทำงานได้ยาวนานขึ้น ชาวบ้านในภาคใต้ใช้ใบกระท่อมในการรักษาอาการป่วยที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว รวมทั้งรักษาโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
อาการเมากระท่อม
ผู้ที่ใช้ใบกระท่อมส่วนใหญ่เคยมีอาการเมากระท่อมเมื่อใช้กระท่อมเป็นครั้งแรก หรือเคี้ยวใบกระท่อมในปริมาณที่มากติดต่อกัน เมื่อกินกระท่อมขณะที่ท้องว่าง หรือใช้กระท่อมชนิดที่เมา ซึ่งกระท่อมที่กินได้มี 2 ชนิด ได้แก่ กระท่อมก้านเขียว และ ก้านแดง กระท่อมก้านแดงมีรสชาติขมกว่ากระท่อมก้านเขียวและมีฤทธิ์ยาวนานกว่าประมาณ 30 นาที เมื่อใช้ในปริมาณที่เท่ากัน ในปัจจุบันพบว่ากระท่อมก้านเขียวมีจำนวนมากกว่ากระท่อมก้านแดง อีกทั้งเป็นที่นิยมมากกว่าก้านแดง เพราะมีรสชาติที่ขมน้อยกว่าก้านแดง ส่วนกระท่อมที่ไม่สามารถกินได้ คือ กระท่อม(ทุ่ม)นา และกระท่อมขี้หมู (M. diversifolia (Wall ex G. Don) Havil.) กระท่อมนาใบจะเล็กกว่ากระท่อมก้านเขียวและก้านแดง และจะมีขนอยู่หลังใบ เมื่อเคี้ยวเข้าไปจะมีอาการระคายคอ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสกัดจากพืชกระท่อม
1 .ออกฤทธิ์ระงับปวด
2. ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
3. ผลต่อความอยากอาหาร
4. ผลต่อระดับน้ำตาลในเลือด
5. ผลต่อกล้ามเนื้อลาย

6 อันดับ สายพันธุ์ใบกระท่อม ที่กินได้เเละไม่ควรกิน (พืชกระท่อม)

น้ำท่อมสูตรใส่โออิชิ


สนใจเข้ามาคุยมาดูมาเช็คก่อนได้
คุณได้รับคำเชิญให้เข้าร่วม \”Daryl Dixon\” โปรดแตะลิงก์ด้านล่างเพื่อเข้าร่วมโอเพนแชทนี้
https://line.me/ti/g2/42Hnae5C43idPqAjDDEYA?utm_source=invitation\u0026utm_medium=link_copy\u0026utm_campaign=default

น้ำท่อมสูตรใส่โออิชิ

วีธีต้มน้ำกระท่อม เมาหัวถิ้ม #สูตรลับไม่เหมือนไคร,ใบกระท่อมไทย


น้ำกะท่อม สูตรผสมน้ำกระท่อม ชงน้ำท่อมสายเขียว
วิธีผสมน้ำกระท่อมเเบบเมาหัวถิ้ม เเบบดีดๆ ลองรับชมกันเลยครั
สูตรนี้เด็ดเเน่นอน ยันรุ้ง
สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อเข้าถึงสิทธิพิเศษต่างๆ
https://www.youtube.com/channel/UC7zfueIspMJ1JwtwixnrZdg/join

วีธีต้มน้ำกระท่อม เมาหัวถิ้ม #สูตรลับไม่เหมือนไคร,ใบกระท่อมไทย

วิธึต้มน้ำกระท่อมเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด/ควบคุมระดับน้ำตาลโรคเบาหวาน/ครัวแม่น้อง


วิธึต้มน้ำกระท่อมเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด/ควบคุมระดับน้ำตาลโรคเบาหวาน
คลิปแนะนำ ทำผงกระท่อมจากใบตายนึ่ง
https://youtu.be/wYoPEcfmU
คลิปแนะนำ กระท่อม สรรพคุณทางยา/ปลดล็อกพืชกระท่อม
https://youtu.be/x1PCRI4Avwk
คลิปแนะนำ พันธุ์กระท่อมที่ปทุม นิยมปลูก/กระท่อมปทุม
https://youtu.be/d0tJRVolEIk
คลิปแนะนำ วิธีกินใบกระท่อมสด
https://youtu.be/SVTOly1YKUY
คลิปแนะนำ ชิมรสชาติสายพันธุ์กระท่อมแต่ละสายพันธ์
https://youtu.be/Iv4VlBnweok
วิธึต้มน้ำกระท่อมเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด/ควบคุมระดับน้ำตาลโรคเบาหวาน
https://youtu.be/ff2TiUmScTQ

วิธึต้มน้ำกระท่อมเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด
น้ำกระท่อมควบคุมระดับน้ำตาลโรคเบาหวาน
วิธีต้มน้ำกระท่อมให้หอมอร่อย
วิธีต้มน้ำกระท่อมเป็นยา
วิธีต้มน้ำกระท่อมควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ครัวแม่น้อง
ติดต่อพูดคุยได้ทาง
Page @ครัวแม่น้อง กานต์
FB@ครัวแม่น้อง กานต์
Instagram ครัวแม่น้อง กานต์

วิธึต้มน้ำกระท่อมเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด/ควบคุมระดับน้ำตาลโรคเบาหวาน/ครัวแม่น้อง

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่CRYPTO

1 thought on “ต้มน้ำกระท่อม? ง่ายๆ​ อร่อยกลมกล่อม​ | วิธี ต้ม น้ํา ท่อ ม”

Leave a Comment