สอนวิธีการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.91| TAX | กรอก แบบ ภ งด 91

สอนวิธีการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.91| TAX


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

อธิบายวิธีกาารคำนวณภาษีเงินได้ตามแบบ ภ.ง.ด.91 เหมาะสำหรับคนที่มีเงินได้จากเงินเดือนประเภทเดียวเท่านั้น คนที่มีเงินได้ตามมาตรา 40(1) ต้องคำนวณภาษีจากเงินได้สุทธิ โดยคำนวณภาษีตามอัตราก้าวหน้า
ไม่มีความรู้พื้นฐานด้านภาษีก็เข้าใจได้ นำไปใช้งานได้จริง
วิธีการคิดภาษีเงินเดือน
วิธีการคิดภาษีภงด.91
ภงด91
วิธีการคิดภาษี40(1)

ฝากกด Subscribed เป็นกำลังใจให้พวกเราด้วยนะคะ และเพื่อไม่ให้พลาดสาระดีดี อย่าลืมกดกระดิ่งด้วยนะคะพี่พี่
ติดตาม TaxeasyByPK ช่องทางอื่นๆ ได้ที่
Facebook : https://www.facebook.com/taxeasyByPK

สอนวิธีการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.91| TAX

ร้านค้าคนละครึ่ง ขายดี อย่าลืมยื่นภาษีด้วย


ร้านค้าคนละครึ่ง ขายดี อย่าลืมยื่นภาษีด้วย
รายละเอียดจะเป็นอย่างไร ต้องฟัง!!!

ติดต่อโฆษณา
โทร. : 020528556
Email : [email protected]

ช่องทางการติดต่อ บนกองเงินกองทอง
📩 Line @ : @bon.knkt
📩 Click https://goo.gl/XsD1oN

☎ โทร : 020528556
📍 บริษัท บนกองเงินกองทอง จำกัด @ อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 14 ใกล้ BTS อารีย์
📌 แผนที่ https://g.co/kgs/smTC7h

ร้านค้าคนละครึ่ง ขายดี อย่าลืมยื่นภาษีด้วย

8 ขั้นตอนง่าย ๆ ในการยืนยันตัวตนบัญชีใหม่กรมสรรพากร


ั้ขั้นตอนการยืนยันตัวตนบัญชีใหม่ในระบบยื่นภาษีทางอินเตอร์เน็ตใหม่ efiling ของกรมสรรพากร สำหรับคนที่มีบัญชีอยู่แล้ว ยืนยันตัวตน กรมสรรพากร efiling ยื่นแบบ ยื่นผ่านเน็ต ภาษีพารวย

8 ขั้นตอนง่าย ๆ ในการยืนยันตัวตนบัญชีใหม่กรมสรรพากร

สอนยืนยันบัญชีผู้ใช้งาน ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร ถ้าจะยืนยันต้องทำยังไงบ้าง ?


วิธียืนยันระบบยื่นภาษีใหม่ของกรมสรรพากร eFilling ต้องทำยังไง มีอะไรที่ต้องรู้บ้าง พรี่หนอมลองรีวิวและพาไปทำให้ดูกันในคลิปนี้ครับ
เนื่องจากกรมสรรพากรมีการเปลี่ยนแปลงระบบยื่นภาษีใหม่ทั้งระบบ ทำให้ต้องมีการอัพเดทข้อมูลต่าง ๆ โดยส่วนหนึ้งคือการเปลี่ยน Username และ password ของการยื่นภาษี เพือให้เราสามารถใช้ระบบใหม่ได้อย่างสมบูรณ์
ณ ตอนนี้ยังสามารถใช้ USERNAME และ PASSWORD ของระบบเก่าได้นะครับ แต่จะสามารถใช้ได้ถึงสิ้นปี 2564 ดังนั้นใครสะดวกยืนยันก่อนได้ครับ โดยเริ่มยืนยันได้ตั้งแต่วันที่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไปครับ
คลิปนี้อัดไวก่อนกรมสรรพากรจะปิดปรับปรุงระบบครับ หากมีอะไรเพิ่มเติมจะมาอัพเดทอีกทีในช่วงเดือนตุลาคมครับ
อัพเดทดูคลิปอัพเดทการยืนยันตัวตนใหม่ ได้ที่นี่ครับ https://youtu.be/_IPPLUQ0liw

สอนยืนยันบัญชีผู้ใช้งาน ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร ถ้าจะยืนยันต้องทำยังไงบ้าง ?

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?


สรุป EFiling ระบบยื่นภาษีแบบใหม่ของสรรพากร มีอะไรที่ต้องรู้บ้าง ? พรี่หนอมสรุปให้ฟังครับ
ตั้งแต่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป กรมสรรพากรจะเปิดให้บริการใหม่ สำหรับการยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ต โดยมีการปรับปรุงใน 3 ด้านหลัก ๆ ดังนี้
เรื่องแรก การลงทะเบียนยื่นแบบ
1. ผู้ประกอบการสามารถยื่นแบบแยกสาขา หรือ รวมสาขาได้ สำหรับกรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิมและธุรกิจเฉพาะ
2. เพิ่มช่องทางของ Service Provider ให้สามารถช่วยยื่นแบบ หรือจัดเตรียมแบบแสดงรายการภาษีให้ได้
เรื่องที่สอง การยื่นแบบแสดงรายการ
1. ระบบช่วยคำนวณค่าความคลาดเคลื่อน ±20 ภาษีที่ชำระ(ขอคืน) สำหรับแบบ ภ.พ.30
2. สามารถยื่นแบบเกินกำหนดเวลาได้แล้ว
3. ระบบจะช่วยคำนวณเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับอาญาที่ประหยัดเงินผู้เสียภาษีมากที่สุดให้ได้
4. ยื่นภาษีผิดไป (ไม่มีชำระ) ยกเลิกแบบเองได้ ยื่นได้ทุกแบบ ทุก Browser และ Save แบบร่างเก็บไว้ได้ด้วยนะ
เรื่องที่สาม การชำระเงิน
สามารถออกใบเสร็จได้ทันทีที่ชำระ อยากชำระแบบไม่ปัดเศษก็ได้
โดยสิ่งทีต้องทำ คือ ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ เพื่อให้สามารถใช้ระบบใหม่ได้อย่างสมบูรณ์ สามารถเริ่มได้ตั้งแต่วันนี 31 ธันวาคม 2564 ครับ
อัพเดทล่าสุด : ตอนนี้กรมสรรพากรได้ปิดการใช้งานระบบยืนยันบัญชีผู้ใช้งานชั่วคราว สำหรับคนที่ยืนยันแล้ว สามารถใช้งานระบบใหม่ได้ทันทีในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 ดังนั้นในช่วงนี้ให้ยื่นภาษีโดยใช้ ชื่อผู้ใช้ (Username) และ รหัสผ่าน (Password) เดิมก่อน ส่วนผู้ที่ยังไม่ได้ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ ระบบจะเปิดให้ยืนยันอีกครั้งในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป
0:00 Intro
0:52 ระบบ efiling
1:22 การลงทะเบียนใหม่
3:02 การยื่นภาษีแบบใหม่
7:28 การชำระภาษีแบบใหม่
8:56 จะใช้ต้องทำยังไง?
10:07 สรุป

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่ECONOMY

Leave a Comment