ไคเซ็นชมเชย – อุราวรรณ สุขดี – ลดการทำงานซ้ำซ้อน | ตัวอย่าง kaizen ใน โรงงาน | เคล็ดลับออนไลน์ที่เป็นประโยชน์สำหรับคุณ

Table of Contents

ไคเซ็นชมเชย – อุราวรรณ สุขดี – ลดการทำงานซ้ำซ้อน | สร้างรายได้จากการลงทุนออนไลน์ที่บ้าน.

[penci_button link=”#” icon=”” icon_position=”left” align=”center” text_color=”#000000″]ชมวิดีโอด้านล่าง[/penci_button]

Kaizen (ไคเซน) คืออะไร ? Kaizen ง่ายนิดเดียว EP.1


Kaizen(ไคเซน)คือแนวคิดหรือเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการปรับปรุงขั้นตอนการทำงาน ปรับปรุงกิจวัตรประจำวันให้ดียิ่งขึ้น ง่ายขึ้นกว่าเดิม ลดความสับสน ลดความผิดพลาด สามารถชี้วัดได้ด้วยผลลัพธ์ในเชิงตัวเลขต่างๆ เชิงคุณภาพ ก่อนจะทำ Kaizen เรื่องไหน ต้องยอมรับว่ามีปัญหา ตัวอย่างปัญหา เช่น ใช้เวลานาน รอนาน ลืม ผิดพลาด เกิดของเสีย ไม่เป็นระเบียบ หายาก ใช้เงินมาก อันตราย เป็นต้น แล้วเริ่มมาทบทวนวิธีการตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ ว่ามีวิธีการใด ที่ลดได้บ้าง เลิกทำได้บ้าง หรือเปลี่ยนวิธีหรือเปลี่ยนวัสดุได้บ้าง แล้วคาดว่าจะทำให้ผลลัพธ์ดีขึ้นกว่าเดิม จากนั้นก็ตั้งเป้าหมาย แล้วไปลงมือทำกันเลยครับ จากนั้นก็วัดผล ถึงแม้ว่าผลลัพธ์จะไม่ได้ตามเป้าที่ตั้งไว้ แต่ดีขึ้นกว่าเดิมก็ถือว่าเป็นการทำ Kaizen แล้วครับ ,นอกจากแนวคิด ลด เลิก เปลี่ยน ที่ช่วยในการทำ Kaizen แล้ว ยังมีเครื่องมือ แผนภูมิก้างปลา ,ECRS การกำจัด การรวม การจัดใหม่ การทำให้ง่ายขึ้น เป็นต้น, ฝากกดติดตามช่อง จังหวะชีวิต by kob
ไคเซน คืออะไร, what is kaizen
kaizenคืออะไร มาทำความรู้จักไคเซนกัน

Kaizen (ไคเซน) คืออะไร ? Kaizen ง่ายนิดเดียว EP.1

เกร็ดความรู้คู่ออฟฟิต | EP.30 Kaizen เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาการทำงาน | instant knowledge


ขอบคุณทุกท่านที่ติดตามรับชมคลิปของ Instant knowledge หวังว่าการทำคลิปนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อการทำงานของเพื่อนๆไม่มากก็น้อย จุดประสงค์ของการทำคลิปของดิ๊ฟ คืออยากให้เพื่อนๆ มีความสุขกับการทำระบบ ทำกิจกรรมในองค์กรของท่าน ด้วยความเข้าใจ
ฝากติดตามช่องทางเพิ่มเติม ทาง facebook fanpage https://www.facebook.com/instantknowledgeofficial/
Line @  @instantknowledgeofficial
ยินดีจัดอบรมสัมมนา แบบรูปแบบใหม่ อบรมด้วยความสุข เสียงหัวเราะ และได้ผลงานไปใช้จริงๆ ทั้งในส่วนของ ISO9001 , IATF16949 , core tools , ISO14001 , ISO45001 , Internal audit , 5ส , QCC , TPM , cost reduction etc. Learn & Plearn Training for ISO and other activity
ติดต่อเบอร์ 0828255353 (เลขา)

อย่าลืมกดติดตาม กดกระดิ่งเพื่อไม่พลาดข้อมูลดีๆนะคะ
===========================
===========================
เมื่อคุณกำลังมองหา
วิทยากรสายฮา
วิทยากร พูดบรรยาย ได้ น่าฟัง
วิทยากรตลก
วิทยากรพูดน่าฟังมาก
คิดถึงดิ๊ฟ
สนใจติดต่ออบรม อบรม ออนไลน์ การฝึกอบรมหลักสูตรเพื่อการพัฒนาองค์กร อบรม หัวหน้างาน อบรม เอ็นเทรนนิ่ง อบรม สัมมนา ในรูปที่ไม่น่าเบื่อผ่านการกระตุ้นให้เรียนรู้ด้วยกิจกรรม
iso 9001 version 2015 ไทย
iso 14001 version 2015 ไทย
iatf 16949 คืออะไร
iatf 16949 vs iso9001
iatf 16949 core tools
iso 45001 version 2018 ( iso 45001 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย)
iso 17025 version 2017
internal audit iso 9001 version 2015 ( ตรวจติดตามภายใน iso 9001 )
internal audit iso 14001
gmp haccp
ประเมินความเสี่ยง iso 9001
ประเมินความเสี่ยง iso 45001
ประเมินความเสี่ยง 17025
ดัชนีชี้วัด kpi key performance indicator
ประเมิน aspect 14001
บริบทองค์กร
core tools iatf 16949 มีอะไรบ้าง
apqp automotive
fmea vda training
control plan
ppap
spc คืออะไร
msa training
swot analysis คือ
qc 7 tools
kaizen games for training
kaizen โรงงานอุตสาหกรรม
action plan ทำอย่างไร
lean คือ
bsc คือ
risk assessment iso 9001
การควบคุมเอกสารในระบบการจัดการ (document control)
why why analysis ตัวอย่าง
qcc training
iso 13485 ภาษาไทย
5 ส ในโรงงาน
tpm total productive maintenance
csr คือ
corrective action and preventive action
การจัดการความรู้ (knowledge management)
การจัดการคุณภาพ
การจัดการความเสี่ยง
จิตสำนึกคุณภาพ
จิตสำนึกความปลอดภัย
vda6.3 process audit
มาตรฐาน iso คืออะไร
okr คืออะไร
okr vs kpi
train the trainer
ความสูญเสีย 7 ประการ
8d report training

ช่องทางการติดต่อ inhouse training , online training หรืองานที่ปรึกษา สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ที่ [email protected] หรือ โทร 0828255353

เกร็ดความรู้คู่ออฟฟิต | EP.30 Kaizen เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาการทำงาน | instant knowledge

เที่ยวชมกลไก Karakuri Kaizen โรงงานเกตเวย์ คุยกันยามเช้า 8162


เที่ยวชมกลไก Karakuri Kaizen โรงงานเกตเวย์ คุยกันยามเช้า 8162

เที่ยวชมกลไก Karakuri Kaizen โรงงานเกตเวย์ คุยกันยามเช้า 8162

Kaizen ซาบีน่า เรื่อง Shopping Car


เป็นผลงาน Kaizen ของพนักงานคลังสินค้า บริษัท ซาบีน่า ฟาร์อีสท์ จำกัด ที่ได้รับรางวัล Think Out Of The Box(คิดนอกกรอบ) จากเวทีการประกวด Thailand Kaizen Award 2010 ที่ สสท. เป็นผู้จัดขึ้น

Kaizen ซาบีน่า เรื่อง Shopping Car

ไคเซ็นชมเชย อุราวรรณ สุขดี ลดการทำงานซ้ำซ้อน


ไคเซ็นชมเชย ปี 2562

ไคเซ็นชมเชย   อุราวรรณ สุขดี  ลดการทำงานซ้ำซ้อน

ไอเดียการปรับปรุงงาน ตอน การเปลี่ยนแปลงเล็กๆ


ไอเดียการปรับปรุงงาน ตอน การเปลี่ยนแปลงเล็กๆ

เทคนิคการปรับปรุงงาน สำหรับหัวหน้างาน


เรียนรู้ขั้นตอนการปรับปรุงงาน สำหรับหัวหน้างาน

เทคนิคการปรับปรุงงาน สำหรับหัวหน้างาน

KAIZEN คืออะไร ทำความรู้จักกับไคเซ็นได้ในคลิปนี้ KAIZEN ไคเซ็น ปรัชญาธุรกิจจากญี่ปุ่น


ไม่ใช่เรื่องแปลกสำหรับการทำธุรกิจที่ผู้บริหารจะมีเป้าหมายและวิสัยทัศน์ให้ธุรกิจเกิดความเติบโตอย่างต่อเนื่องแบบยั่งยืน แต่ในการดำเนินธุรกิจให้ไปถึงเป้าหมายก็ไม่ใช่เรื่องง่าย มีเปอร์เซ็นต์น้อยมากที่ธุรกิจจะประสบความสำเร็จตั้งแรกเริ่มต้น โดยเฉพาะในยุคที่มีการแข่งขันที่สูงและมีปัญหารอบด้าน

ในระหว่างดำเนินธุรกิจย่อมเจอปัญหาตั้งแต่เรื่องเล็กจุกจิก ไปจนเรื่องใหญ่เข้ามาอยู่เสมอ และบ่อยครั้งที่เราก็ไม่ได้มีเงินลงทุนตั้งต้นที่สูงในการเปิดธุรกิจตั้งแต่แรกเริ่ม แนวคิด “ไคเซ็น” (Kaizen) จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจ

ไคเซ็น (Kaizen) คือ การปรับปรุงธุรกิจทีละเล็กทีละน้อยอย่างต่อเนื่อง ค่อยเป็นค่อยไป เพื่อให้ธุรกิจดีขึ้น เติบโตขึ้น โดยการสังเกต การเก็บข้อมูล และพนักงานหน้างาน เช่น พนักงานเสิร์ฟ พนักงานสายปฏิบัติการ พนักงานต้อนรับ มีส่วนสำคัญต่อการทำไคเซ็นอย่างมาก เพราะเป็นกลุ่มคนที่เห็นปัญหาหน้างาน และสัมผัสกับ Feedback จากลูกค้าโดยตรง

ยกตัวอย่างร้านก๋วยเตี๋ยวที่แรกเริ่มในการเปิดร้าน ยังมีเงินลงทุนไม่สูง ลูกค้ายังไม่เยอะ ก็จะเน้นที่รสชาติของอาหารเป็นหลัก อาศัยการจำเมนู มีโต๊ะเก้าอี้อยู่ไม่กี่ตัว เมื่อลูกค้าเริ่มติดใจในรสชาติ ก็กลับมาซื้อซ้ำ บอกต่อ ลูกค้าเยอะขึ้น ทางร้านก็มีการปรับวิธีการรับ Order เป็นการจดใส่กระดาษฉีก และเมื่อสังเกตว่าลูกค้าบางคนมีความต้องการแตกต่างกัน เช่น ระดับความเผ็ด เส้นก๋วยเตี๋ยว การใส่ผักใส่ถั่วงอก ใบจดเมนูก็ถูกปรับให้เป็นการติ๊กช่องให้เฉพาะเจาะจงมากขึ้น และเมื่อกิจการขยายก็อาจจะเปลี่ยนเป็นการจดใน Tablet และส่งข้อมูลไปที่ครัวและแคชเชียร์ในที่สุด

แน่นอนว่าที่ร้านก็ไม่ได้ตัดสินใจทุ่มเงินซื้อแท็บเล็ตตั้งแต่แรก หากยังไม่ได้เริ่มทดลองเปิดร้านทีละสเต็ป และอาศัยการสังเกตฟีดแบ็คต่าง ๆ มิฉะนั้นก็จะเป็นการสูญเสียเงินโดยเปล่าประโยชน์ ไม่สมควรแก่จังหวะและโอกาส

ไคเซ็นมองปัญหา…เป็น “โอกาส”

เพราะเกิดปัญหา เกิดความไม่สะดวก ไม่สบายใจ ทั้งฝ่ายลูกค้าและฝ่ายธุรกิจ จึงทำให้เราต้องกลับมาคิดทบทวนหาทางแก้ไข จุดที่ทำให้หงุดหงิด ภาษาการตลาดเรียกได้ว่าเป็น Pain Point เพราะเกิด Pain Point จึงเกิดการพัฒนาให้ดีขึ้น ดังนั้นการจะทำให้ไคเซ็นให้ประสบความสำเร็จ เราต้อง “เปิดใจ” ให้กว้าง มองให้เห็นปัญหา รับฟังฟีดแบ็ค และหาทางพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป

ไคเซ็นเป็นเรื่องระยะยาว

อย่างที่ได้กล่าวไปแล้วว่าการทำไคเซ็นเป็นการพัฒนาทีละเล็กทีละน้อย ค่อยเป็นค่อยไป ตามบริบทความเหมาะสมในหลาย ๆ ด้าน ดังนั้นเรื่องไคเซ็นอาจจะไม่ใช่เรื่องที่จะสามารถทำธุรกิจให้ประสบความสำเร็จแบบก้าวกระโดดชั่วข้ามคืน แต่เป็นการค่อย ๆ พัฒนาให้ดีขึ้น จะเรียกว่าเป็นการทำธุรกิจระยะยาว หรือการทำธุรกิจแบบ Infinity หรือ “ไม่มีที่สิ้นสุด” เลยก็ได้ การทำไคเซ็นต้องการความต่อเนื่อง ความสม่ำเสมอ มากกว่าการเล่นใหญ่หรือความเร่งรีบ

หลักฐานที่แสดงให้เราเห็นว่าการทำไคเซ็นเป็นเรื่องระยะยาว ก็เห็นได้จากธุรกิจของญี่ปุ่นหลายแห่ง มีอายุเกิน 100 ปี ในขณะที่หลาย ๆ ธุรกิจต้องปิดตัวลงไปในระยะเวลาอันสั้น

สรุปแล้ว หลักการและขั้นตอนของไคเซ็น มีอะไรบ้าง?

สำหรับหลักการทำไคเซ็น ขอสรุปเป็น 3 ขั้นตอนง่าย ๆ ดังต่อไปนี้

1. ปฏิเสธสภาพปัจจุบัน (First Impression)

อันดับแรกเราจะต้องรู้สึกรับไม่ได้ ไม่โอกับสภาพปัจจุบันเสียก่อน จึงเริ่มคิดแผนที่จะพัฒนาต่อไป เช่น ธุรกิจไม่ผลิตสิ้นค้าไม่ทันและนำส่งลูกค้าล่าช้าจนลูกค้า Complain บ่อยมากจนเกินระดับที่รับได้ นั่นคือจุดเริ่มต้นที่จะต้องปฏิเสธสภาพปัจจุบัน ไม่จำเป็นต้องปฏิเสธทุกเรื่อง เอาเรื่องที่มีนัยสำคัญกับธุรกิจก็พอ

2. ลองผิดลองถูก (Trial and Error)

คนที่เพิ่งหัดตีกอล์ฟ จะคาดหวัง Hold In One ตั้งแต่ครั้งแรกที่เล่นเลยก็คงจะเป็นไปได้ยาก การทำธุรกิจก็เช่นกัน ย่อมต้องเจอปัญหาระหว่างทางอยู่เสมอ หากยังไม่เคยลองทำอะไรเลย ก็จะไม่มีทางรู้ว่าปัญหามีอยู่จริง ดังนั้นนี่จึงเป็นขั้นตอนที่สำคัญอย่างยิ่ง การลองผิดลองถูกอาจจะทำให้เสียเงินจำนวนมาก จึงต้องคิดให้ดีประกอบกับมีความ “กล้าเสี่ยง” เพราะอย่างน้อย ไม่ว่าผลจะออกมาเป็นอย่างไร จะสำเร็จหรือไม่ สิ่งที่ได้แน่ ๆ ก็คือ “บทเรียนใหม่และองค์ความรู้ใหม่ ๆ” นั่นเอง ซึ่งเป็นคนละเรื่องกับการทำผิดพลาดแบบซ้ำ ๆ

3. ปรับให้เหมาะสม (Fine Tune)

สุดท้ายแล้วก็ต้องปรับทุกอย่างให้เหมาะสมกับธุรกิจของตัวเอง ทุกคน ทุกฝ่าย พนักงาน และลูกค้า ต้องแฮปปี้ ซึ่งผู้เขียนไม่สามารถตอบได้ดีว่าความเหมาะสมนั้นเป็นอย่างไรเท่ากับตัวของเจ้าของกิจการเอง

เทคโนโลยีกับการทำไคเซ็น

จากขั้นตอนของการทำไคเซ็นในข้อแรก ขอขยายความคำว่าปฏิเสธสภาพปัจจุบันให้มากขึ้น ซึ่งมันคือการ “ลดละเลิก” สิ่งที่ไม่จำเป็น ไม่มีประโยชน์ ไม่สำคัญ หนึ่งในวิธีการที่จะช่วยได้ก็คือการทำ “เทคโนโลยี” เข้ามาช่วย ซึ่งเทคโนโลยีในปัจจุบันมีอยู่มากมายและเราสามารถนำมาปรับใช้ได้ เช่น IoT หรือ Internet of Thing ที่สามารถเก็บข้อมูลจากเซนเซอร์ได้โดยอัตโนมัติ และส่งต่อไปยังการวิเคราะห์และประมวลผลต่าง ๆ ทำให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเรียลไทม์

หากต้องการปรับปรุงแก้ไขธุรกิจและสร้างให้เกิดการพัฒนาได้จริงอย่างยั่งยืน การทำไคเซ็นก็เป็นทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ การให้พนักงานมีส่วนในการประเมิณธุรกิจร่วมกันก็จะสร้างความภาคภูมิใจให้กับพนักงานทุกคน ให้เกิด Ownership ในงาน และการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ก็จะช่วยให้ลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็นต่าง ๆ ได้

บทความเต็ม คลิก https://metrosystemsdes.com/thingworx/kaizenไคเซ็นปรัชญาการพัฒน/

สอบถามเพิ่มเติมกับทาง Metro IoT

โทร 020894145 (จศ 8.30 17.00 น.)
เว็บไซต์ http://metrosystemsdes.com/
Facebook https://www.facebook.com/metroiot
YouTube https://www.youtube.com/channel/UC5Vu0dePMAb9DcJmvzFpmJw

kaizen ไคเซ็น ไคเซ็นคืออะไร การทำไคเซ็น

KAIZEN คืออะไร ทำความรู้จักกับไคเซ็นได้ในคลิปนี้ KAIZEN ไคเซ็น ปรัชญาธุรกิจจากญี่ปุ่น

ตัวอย่าง Kaizen


ตัวอย่าง Kaizen

Kaizen(ไคเซน)คืออะไร? มาทำ(Kaizen) ไคเซน ที่บ้านกัน EP.2


Kaizen(ไคเซน)คือแนวคิดหรือเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการปรับปรุงขั้นตอนการทำงาน ปรับปรุงกิจวัตรประจำวันให้ดียิ่งขึ้น ง่ายขึ้นกว่าเดิม ลดความสับสน ลดความผิดพลาด สามารถชี้วัดได้ด้วยผลลัพธ์ในเชิงตัวเลขต่างๆ เชิงคุณภาพ ก่อนจะทำ Kaizen เรื่องไหน ต้องยอมรับว่ามีปัญหา ตัวอย่างปัญหา เช่น ใช้เวลานาน รอนาน ลืม ผิดพลาด เกิดของเสีย ไม่เป็นระเบียบ หายาก ใช้เงินมาก อันตราย เป็นต้น แล้วเริ่มมาทบทวนวิธีการตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ ว่ามีวิธีการใด ที่ลดได้บ้าง เลิกทำได้บ้าง หรือเปลี่ยนวิธีหรือเปลี่ยนวัสดุได้บ้าง แล้วคาดว่าจะทำให้ผลลัพธ์ดีขึ้นกว่าเดิม จากนั้นก็ตั้งเป้าหมาย แล้วไปลงมือทำกันเลยครับ จากนั้นก็วัดผล ถึงแม้ว่าผลลัพธ์จะไม่ได้ตามเป้าที่ตั้งไว้ แต่ดีขึ้นกว่าเดิมก็ถือว่าเป็นการทำ Kaizen แล้วครับ ซึ่งการทำ Kaizen ในคลิปนี้ จะยกตัวอย่างกิจวัตรประจำวันที่บ้านของผมเองเป็นตัวอย่างให้ดูเพลินๆ ครับ นอกจากแนวคิด ลด เลิก เปลี่ยน ที่ช่วยในการทำ Kaizen แล้ว ยังมีเครื่องมือ แผนภูมิก้างปลา ,ECRS การกำจัด การรวม การจัดใหม่ การทำให้ง่ายขึ้น เป็นต้น จังหวะชีวิตbykob ,ไคเซน ,Kaizen,ไคเซ็นคืออะไร

Kaizen(ไคเซน)คืออะไร? มาทำ(Kaizen) ไคเซน ที่บ้านกัน EP.2

คุณสามารถค้นหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมได้ที่นี่: Cheerthaipower.com .

ไคเซ็นชมเชย – อุราวรรณ สุขดี – ลดการทำงานซ้ำซ้อน และรูปภาพที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้.

ไคเซ็นชมเชย -  อุราวรรณ สุขดี - ลดการทำงานซ้ำซ้อน
ไคเซ็นชมเชย – อุราวรรณ สุขดี – ลดการทำงานซ้ำซ้อน

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ ตัวอย่าง kaizen ใน โรงงาน.

Kaizen น่ายกย่องปี 2019.

>>ดูข้อมูลอัปเดตเพิ่มเติมได้ที่นี่: ดูข่าวล่าสุดเพิ่มเติมที่นี่

ตัวอย่าง kaizen ใน โรงงาน – การค้นหาที่เกี่ยวข้อง.

#ไคเซนชมเชย #อราวรรณ #สขด #ลดการทำงานซำซอน.

[vid_tags]

ไคเซ็นชมเชย – อุราวรรณ สุขดี – ลดการทำงานซ้ำซ้อน

ตัวอย่าง kaizen ใน โรงงาน.

หวังว่า ข้อมูล ในหัวข้อ ตัวอย่าง kaizen ใน โรงงาน นี้จะ มีคุณค่า มาสู่คุณ ขอบคุณมาก.

10 thoughts on “ไคเซ็นชมเชย – อุราวรรณ สุขดี – ลดการทำงานซ้ำซ้อน | ตัวอย่าง kaizen ใน โรงงาน | เคล็ดลับออนไลน์ที่เป็นประโยชน์สำหรับคุณ”

  1. 875305 727958woah i like yur website. It really helped me with the information i wus searching for. Appcriciate it, will bookmark. 969055

    Reply

Leave a Comment