10 อันดับ ประเทศในเอเชียที่ยากจนที่สุด ในปี 2564 (ไทยติดไหม..?) | ทวีปเอเชียมี กี่ ประเทศ | เว็บไซต์ให้ข้อมูลกีฬาล่าสุด

10 อันดับ ประเทศในเอเชียที่ยากจนที่สุด ในปี 2564 (ไทยติดไหม..?) | ทวีปเอเชียมี กี่ ประเทศ.

 

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ทวีปเอเชียมี กี่ ประเทศ หรือข่าวที่เกี่ยวข้องอื่นๆ โปรดไปที่: เรา การกระทำ

10 อันดับ ประเทศในเอเชียที่ยากจนที่สุด ในปี 2564 (ไทยติดไหม..?) และรูปภาพที่เกี่ยวข้องทวีปเอเชียมี กี่ ประเทศ

10 อันดับ ประเทศในเอเชียที่ยากจนที่สุด ในปี 2564 (ไทยติดไหม..?) 10 อันดับ ประเทศในเอเชียที่ยากจนที่สุด ในปี 2564 (ไทยติดไหม..?)

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ ทวีปเอเชียมี กี่ ประเทศ.

.

>>> สามารถหาข้อมูลที่น่าสนใจอื่นๆ ได้ที่นี่ cheerthaipower.com
แบ่งปันที่นี่

ทวีปเอเชียมี กี่ ประเทศ – การค้นหาที่เกี่ยวข้อง.

#อนดบ #ประเทศในเอเชยทยากจนทสด #ในป #ไทยตดไหม.

THTTV,THTจัดอันดับ,จัดอันดับ,สิบอันดับ,10อันดับ,ช่อง7HD,ช่องONE,ช่อง3SD,ไทยรัฐนิวส์,อัพเดทเมืองไทย,ประเทศที่เจริญที่สุด,ประเทศที่เจริญที่สุดในโลก,ประเทศที่ยากจนที่สุด,ประเทศที่ยากจนที่สุดในเอเชีย,ประเทศยากจน,จังหวัดที่ยากจนที่สุด,จังหวัดที่เจริญที่สุด,จังหวัดที่เจริญที่สุดในประเทศไทย,ประเทศไทย,อินเดีย,ปากีสถาน,ซีเรีย,เมียนมาร์,พม่า,กัมพูชา,คีร์กีซสถาน,เนปาล,เกาหลีเหนือ,จีดีพี,gdp,GDP

10 อันดับ ประเทศในเอเชียที่ยากจนที่สุด ในปี 2564 (ไทยติดไหม..?)

ทวีปเอเชียมี กี่ ประเทศ.

เราหวังว่า ความรู้ ในหัวข้อ ทวีปเอเชียมี กี่ ประเทศ นี้จะ เสนอมูลค่า มาสู่คุณ ขอบคุณมาก.

ความยากจนหลายมิติลดทั่วโลก ไทยต่ำสุดอาเซียน

ดัชนีความยากจนหลายมิติ หรือ Multidimensional Poverty Index (MPI)  จัดทำโดยโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ร่วมกับโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และแก้ไขความยากจนแห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด (Oxford Poverty and Human Development Initiative – OPHI) เป็นดัชนีที่ชี้วัดด้านต่าง ๆนอกจากรายได้ โดยครอบคลุมตัวชี้วัด 10 อย่างที่วัดในมิติการศึกษา สุขภาพ และคุณภาพชีวิต ซึ่งค่าดัชนีที่ต่ำลงหมายถึงระดับความยากจนที่ลดลง

การจัดทำดัชนีความยากจนหลายมิติในปี 2564 ได้รวบรวมข้อมูลจากประเทศกำลังพัฒนา 109 ประเทศ ซึ่งมีประชากร 5.9 พันล้านคน รายงานดังกล่าวได้แสดงว่า 70 ประเทศ ซึ่งมีประชากรประมาณ 5 พันล้านคน ได้ลดระดับความยากจนหลายมิติอย่างมีนัยสำคัญอย่างน้อยช่วงหนึ่งในระหว่าง 20 ปีก่อนโควิด-19

จากรายงานฉบับนี้ ดัชนีความยากจนหลายมิติของประเทศไทยอยู่ที่ 0.002 ต่ำที่สุดในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือกลุ่มประเทศอาเซียนที่รวมอยู่ในการศึกษาครั้งนี้ เช่น เมียนมา (0.176) กัมพูชา (0.170) ลาว (0.108) ฟิลิปปินส์ (0.024) เวียดนาม (0.019) และอินโดนีเซีย (0.014) ดัชนีความยากจนหลายมิติของประเทศไทยยังต่ำกว่าค่าดัชนีของภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิค (0.023) อีกด้วย

อย่างไรก็ตาม 1.3 พันล้านคน หรือร้อยละ 92 ของประชากรในประเทศกำลังพัฒนา ยังคงเผชิญกับความยากจนหลายมิติ

โควิด-19 และความยากจนหลายมิติทั่วโลก

แม้จะยังไม่มีข้อมูลที่ครบถ้วนเกี่ยวกับผลกระทบของโควิด-19 ต่อดัชนีความยากจนหลายมิติ การระบาดของโควิด-19 ได้เน้นถึงช่องโหว่ในระบบความคุ้มครองทางสังคมและการศึกษา ตลอดจนความเปราะบางของแรงงานทั่วโลก ซึ่งรายงานนี้ได้แสดงให้เห็นว่า ประเทศที่มีช่องโหว่ดังกล่าวลึกที่สุด คือประเทศที่มีความยากจนหลายมิติในระดับสูง

ความรุนแรงของวิกฤตโควิด-19 ในประเทศที่ยากจนที่สุดของโลกนั้น ยังมีการประเมินต่ำเกินไป เนื่องจากจำนวนผู้เสียชีวิตที่มีจำกัด ทำให้สถานการณ์นี้ไม่ได้เป็นที่สนใจในระดับนานาชาติ การศึกษานี้ยังได้กล่าวว่า ประชากรในประเทศที่ยากจนที่สุดได้รับผลกระทบอย่างมหาศาล ซึ่งผลที่ตามมาต่อจากนี้จะแสดงตัวในระยะต่อไป

“การระบาดของโควิด-19 ได้ลดทอนความคืบหน้าของการพัฒนาทั่วโลก และเราก็ยังคงพยายามที่จะทำความเข้าใจถึงผลกระทบทั้งหมดของมัน” คุณอาคิม สไตเนอร์ (Achim Steiner) ผู้อำนวยการใหญ่ประจำโครงการพัฒนาเเห่งสหประชาชาติ กล่าวไว้ “ดัชนีความยากจนหลายมิติในปีนี้ได้ย้ำเตือนให้เราเห็นความจำเป็นของภาพรวมว่าคนได้รับผลกระทบจากความยากจนอย่างไร คนเหล่านั้นเป็นใคร อยู่ที่ไหน ถ้าหากเราจะสร้างอนาคตไปข้างหน้าจากวิกฤตครั้งนี้ และสร้างมาตรการต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพและไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง”

รายงานในปีนี้ได้แสดงถึงสถานการณ์ความยากจนที่ถูกซ้ำเติมโดยความเหลื่อมล้ำที่มีอยู่แต่เดิม เช่น ความเหลื่อมล้ำต่อกลุ่มชาติพันธุ์และผู้หญิง การวิเคราะห์ความยากจนในหลายมิติและชาติพันธุ์มีความสำคัญอย่างยิ่ง ความแตกต่างระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์และสีผิวเป็นสิ่งที่ผู้วางนโยบายควรให้ความสำคัญเพื่อที่จะให้การพัฒนาหลังโควิด-19 เป็นไปอย่างยุติธรรมและทั่วถึง

ดัชนีความยากจนหลายมิติของประเทศไทยได้ปรับตัวดีขึ้นในช่วงก่อนโควิด-19 โดยค่าดัชนีในปัจจุบัน ซึ่งอยู่ที่ 0.002 นั้น มาจากผลสำรวจเมื่อปี 2562 ขณะที่ในช่วงปี 2558-2559 และ 2555 ค่าดัชนีอยู่ที่ 0.003 และ 0.005 ตามลำดับ จากการสำรวจล่าสุด พบว่า ประชากร 176,000 คน ได้ออกจากความยากจนเนื่องจากการเข้าถึงสาธารณูปโภคพื้นฐานที่ดีขึ้น เช่น สุขอนามัย น้ำดื่ม ไฟฟ้า และที่อยู่อาศัย อย่างไรก็ดี การเข้าถึงการศึกษา โดยเฉพาะจำนวณปีที่เข้าเรียน และการเข้าถึงสารอาหาร ยังคงเป็นปัจจัยสำคัญที่ยังขาดแคลน นี่คือสิ่งที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ เมื่อการระบาดของโควิด-19 ได้ส่งผลกระทบหนักที่สุดต่อกลุ่มที่เปราะบางที่สุด

การใช้มุมมองหลายมิติเพื่อวิเคราะห์ปัญหาความยากจนได้เน้นย้ำถึงความสำคัญในการมองเรื่องความยากจนให้มากกว่ามิติด้านรายได้ ความยากจนหลายมิติในไทยนั้น มีสูงกว่าความยากจนในด้านการเงิน 0.5 จุด ซึ่งชี้ว่า ถึงแม้ว่าคนจะดำรงชีวิตเหนือเส้นความยากจนทางด้านรายได้ แต่ก็อาจจะเผชิญความลำบากในด้านสุขภาพ การศึกษา และ/หรือคุณภาพชีวิต

การจัดการความยากจนในหลายมิตินั้นเป็นความท้าทาย เนื่องจากเส้นทางในการยุติปัญหาความยากจนดังกล่าวไม่ได้เป็นเส้นตรงเสมอไป และความเปลี่ยนแปลงในมิติต่าง ๆ ในแต่ละช่วงเวลาก็ไม่เหมือนกัน ไม่มีวิธีใดที่เป็นสูตรสำเร็จ จึงต้องมีการวิเคราะห์และดำเนินการให้เกิดวิธีที่หลากหลาย นอกเหนือไปจากการเพิ่มรายได้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยุติธรรมและทั่วถึง นอกจากนี้ นโยบายขจัดความยากจนอย่างละเอียดและแนวทางที่ปฏิบัติได้จริงต้องมุ่งไปที่การจัดการความรุนแรงและส่วนประกอบของปัญหาความยากจนที่แตกต่างกัน นี่คือเวลาแห่งการปรับเปลี่ยนนโยบายและคิดใหม่เรื่องแนวทางการฟื้นตัวหลังโควิด-19 ที่ยุติธรรมและเท่าเทียม

สารคดี ทึ่งทั่วโลก Ep.42 ตอน ประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก_บังคลาเทศ.

10 อันดับ ประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก – 10 Poorest Countries In The World

 

47 thoughts on “10 อันดับ ประเทศในเอเชียที่ยากจนที่สุด ในปี 2564 (ไทยติดไหม..?) | ทวีปเอเชียมี กี่ ประเทศ | เว็บไซต์ให้ข้อมูลกีฬาล่าสุด”

  1. คุณผู้ชมอยากสนับสนุนช่องของเรา แค่แสดงความคิดเห็นใต้คลิปก็ขอขอบคุณมากๆแล้วครับ

    Reply
  2. ไทยนี่แหละ…แหกตาดูชาวบ้านนะ…ยากจนไม่มีแดกกันแล้ว…ด้อยพัฒนา รึกำลังพัฒนา

    Reply
  3. ต่อไปคงเป็นประเทศไทย เพราะมีผู้นำที่ห่วยแตก คนรากหญ้า ไม่มีจะกิน

    Reply
  4. ถ้าตู่ยังคงดื้อรั้นที่จะอยุ่ต่อประเทศไทยต้องติดอันดับกับเขาเป็ยแน่เลย

    Reply
  5. ขอวรประเทศทีร่วยแลัวขอคาวมเมตาเห็นแก่คำว่าเป็นมนุษร่วมโลกขอให้พระพธุพระทรรมพระสงช่วยมีจิตรวช่าวโลกช่วยประเทศเห่ลานี้ด้วยสาธุค่ค่ะๆ

    Reply
  6. ไม่เห็นเขาจัดอ้นดับไห้ลาวจนเลย_ทำมัยคนลาวคอมเม้นท์มามั่วสั่ว_คุณไม่จนหรอกคะลาว_แต่ค่าเงินของคุณมันไม่มีค่ามากก็เท่านั้นเอง__

    Reply
  7. เอาคอมมิวนิสต์3กีบไปฝากไว้ให้เรียนรู้บ้างจะได้รู้ว่าเผาบ้านสิ้นแผ่นดินไทยจะเป็นอย่างไร ขอบคุณค่ะข้อมูล

    Reply
  8. ประเทศไทยก็จนที่สุดในเอเชียเหมือนกันเพราะคนแก่ไม่มีจะแดกได้เดือนละ 600ส่วนข้าราชการรับบำนาญเดือนละหลายหมื่นสมดุลกันไหมคนรวยกับข้าราชการส่วนคนจนไม่มีจะแดก

    Reply
  9. อันดับ 2 น่าจะเป็นประเทศไทยนะคอยดูดิไม่เชื่อลุงตู่ยังไม่ออกไปคอยดู

    Reply
  10. 8โมงตรงเคารพธงชาติลาว​ ชาติลาวเป็นชาติยิ่งใหญ่​ ยิ่งใหญ่ที่ในเอเซีย​ ชาติลาวบ่ย่านชาติใด​ ย่านแต่พี่ไทยชาติเดียว555..( เพลงเชียร์ซีเกมส์ของทีมชาติลาว)​🤣🤣

    Reply

Leave a Comment